วิจัยกรุงศรี No Further a Mystery
วิจัยกรุงศรี No Further a Mystery
Blog Article
ราคาสินค้าไทยไม่ได้เพิ่มขึ้นมากจนเป็นที่น่ากังวลเหมือนในกลุ่มประเทศอย่างสหรัฐ อังกฤษหรือยูโรโซน แต่การเพิ่มขึ้นของราคาเหล่านี้ล้วนกระทบภาระค่าครองชีพและกำลังซื้อของครัวเรือนไทย ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามรายได้และพฤติกรรมการบริโภค โดยวิกฤตทางเศรษฐกิจในหลายครั้งที่ผ่านมา ได้สะท้อนถึงความเปราะบางของคนรายได้ต่ำ จากการมีกันชนที่น้อยกว่ากลุ่มอื่นๆ ซึ่งทำให้การฟื้นตัวหลังจากเกิดวิกฤตเป็นไปได้อย่างยากลำบากและใช้เวลานานกว่ากลุ่มคนรายได้สูงอยู่เสมอ
วิจัยกรุงศรีวิเคราะห์เศรษฐกิจไทยไปต่ออย่างไร ท่ามกลางแรงกดดันเงินเฟ้อและฟื้นตัวไม่เท่าเทียม
นอกจากนี้ ไทยยังไม่มีการบังคับใช้กฎหมายที่ผลักดันให้เกิดการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างจริงจัง หลายภาคส่วนจึงยังไม่มีแรงกระตุ้นให้ดำเนินการวัด เก็บข้อมูล ลด หรือชดเชยการปล่อยคาร์บอน ทำให้ตลาดคาร์บอนเครดิตไทยยังมีขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม ต้องติดตามต่อไปว่าเมื่อ (ร่าง) พระราชบัญญัติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่นี่ยินยอมนโยบายความเป็นส่วนตัว
มันสำปะหลัง:การส่งออกจะโตอย่างแข็งแกร่งด้วยอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นจากจีน
โครงการก่อสร้างอาคารเพื่อการพาณิชย์ แบ่งเป็น
5oC ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวหมายถึงอุณหภูมิผิวน้ำมหาสมุทรมีแนวโน้มกลับมาอยู่ในเกณฑ์ค่าเฉลี่ย
วิจัยกรุงศรีคาดจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติในปี
วิจัยกรุงศรีเจาะลึก “คาร์บอนเครดิต” กลไกพิชิตเป้าหมายความยั่งยืน
อาคารเชิงพาณิชย์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล
การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า
ค. ศาลรัฐธรรมนูญชี้ชะตา “เศรษฐา” พ้นนายกฯ หรือไม่
วิจัยกรุงศรีทำการศึกษาผ่านการตั้งสมมติฐานในการปรับลดอัตราภาษีลงในแต่ละอุตสาหกรรมของไทย เพื่อสะท้อนว่า หากภาครัฐมีการสร้างกลไกหรือออกมาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายของภาคเอกชนในแต่ละอุตสาหกรรมมากขึ้น จะส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยอย่างไร
ภาวะภัยแล้งจะส่งผลกระทบต่อพืชสำคัญหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน รวมถึงผลไม้ต่างๆ อาทิ มะม่วง ทุเรียน สับปะรด แต่ระดับความเสียหายจะแตกต่างกันไปตามบริบทที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทของพืช พื้นที่และภูมิภาคที่เพาะปลูก ช่วงเวลาเพาะปลูก และช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต ยกตัวอย่างเช่นไม้ยืนต้น อาทิ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะม่วง วิจัยกรุงศรี ทุเรียน โดยธรรมชาติแล้วจะสามารถทนแล้งได้นานกว่าพืชระยะสั้นหรือพืชล้มลุก แต่ปริมาณผลผลิตอาจลดลงตามพื้นที่ปลูกในแต่ละภูมิภาค แต่ในกรณีพืชล้มลุก อาทิ ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ผลกระทบจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับช่วงฤดูเพาะปลูก ช่วงระยะเติบโต และช่วงเก็บเกี่ยว